สาขาวิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์
info-rb.mju.ac.th

ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร.ศิวโรฒ บุญราศรี 

ได้รับรางวัลชมเชยจากการเข้าประกวดบรรจุภัณฑ์วัสดุทดแทนถุงเพาะชำกล้าไม้ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
จากการประกวดใน "โครงการประกวดบรรจุภัณฑ์วัสดุทดแทนถุงเพาะชำกล้าไม้ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม" จัดขึ้นโดยกรมป่าไม้

ชื่อผลงาน "โรฒ-2020 (ROT -2020) วัสดุทดแทนถุงเพาะชำกล้าไม้ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

กระบวนการทำถุงเพาะชำเริ่มจากการนำกระดาษมาเคลือบด้วยส่วนผสมของแป้งและน้ำยางพารา
โดยยางพาราทำหน้าที่ป้องกั้นการซึมผ่านของน้ำ แป้งข้าวเหนียวทำให้ย่อยสลายได้ง่าย
กระดาษช่วยยึดโครงสร้างถุงให้แข็งแรง ดังนั้น ในการทำถุงเพาะชำดังกล่าววัสดุแต่ละชนิด
ช่วยเสริมสมบัติซึ่งกันและกันทำให้ได้ถุงเพาะชำที่สามารถใช้งานได้และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ระยะเวลาในการย่อยสลายจนหมดขณะฝังดินประมาณ 1 ปี

ปรับปรุงข้อมูล : 18/1/2565 10:58:07     ที่มา : สาขาวิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์     จำนวนผู้เปิดอ่าน : 18456

กลุ่มข่าวสาร : ข่าวประชาสัมพันธ์

ข่าวล่าสุด

รางวัลชมเชยจากการเข้าประกวดบรรจุภัณฑ์วัสดุทดแทนถุงเพาะชำกล้าไม้ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จากการประกวดใน "โครงการประกวดบรรจุภัณฑ์วัสดุทดแทนถุงเพาะชำกล้าไม้ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม" จัดขึ้นโดยกรมป่าไม้
ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร.ศิวโรฒ บุญราศรี ได้รับรางวัลชมเชยจากการเข้าประกวดบรรจุภัณฑ์วัสดุทดแทนถุงเพาะชำกล้าไม้ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จากการประกวดใน "โครงการประกวดบรรจุภัณฑ์วัสดุทดแทนถุงเพาะชำกล้าไม้ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม" จัดขึ้นโดยกรมป่าไม้ชื่อผลงาน "โรฒ-2020 (ROT -2020) วัสดุทดแทนถุงเพาะชำกล้าไม้ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมกระบวนการทำถุงเพาะชำเริ่มจากการนำกระดาษมาเคลือบด้วยส่วนผสมของแป้งและน้ำยางพารา โดยยางพาราทำหน้าที่ป้องกั้นการซึมผ่านของน้ำ แป้งข้าวเหนียวทำให้ย่อยสลายได้ง่าย กระดาษช่วยยึดโครงสร้างถุงให้แข็งแรง ดังนั้น ในการทำถุงเพาะชำดังกล่าววัสดุแต่ละชนิด ช่วยเสริมสมบัติซึ่งกันและกันทำให้ได้ถุงเพาะชำที่สามารถใช้งานได้และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ระยะเวลาในการย่อยสลายจนหมดขณะฝังดินประมาณ 1 ปี
18 มกราคม 2565     |      18457